Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)
เป้าหมาย (Understanding Gold) :
เข้าใจและเห็นคุณค่า “ลาย” ที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและความเชื่อ ตลอดจนวิถีชีวิตของคนในแต่ละท้องถิ่น อีกทั้งสามารถนำลายต่างๆ มาปรับใช้และสร้างสรรค์ลงบนชิ้นงานของตนเองได้
คำถามหลัก (Big Question) : ลายมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา :
เมื่ออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาแทนที่สังคมเก่าของไทย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกแห่งการสื่อสารได้ก้าวไปล้ำยุคมาก
จนเกิดความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด ทำให้คนเราลืมตัวเราเองมากขึ้น จนกลายเป็นสิ่งสับสนอยู่กับสังคมใหม่อย่างไม่รู้ตัว
และความรีบเร่งรวดเร็วในการดำรงชีวิตทำให้ลงลืมความเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น
เมื่อเราหันกลับมามองตัวเราเองใหม่
ทำให้ดูห่างไกลเกินกว่าจะกลับมาเรียนรู้ว่า พื้นฐานของชาติบ้านเมืองเดิมเรานั้น
มีความเป็นมาหรือมีวัฒนธรรมอย่างไร ความรู้สึกเช่นนี้ ทำให้เราลืมมองอดีตตัวเอง ลายจึงเป็นเสมือนการค้นหาอดีต
ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจต่อการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนได้มองเห็นถึง ความสำคัญของบรรพบุรุษ ผู้สร้างสรรค์ลาย ศิลปะไทย
ให้เราทำหน้าที่สืบสานต่อไปในอนาคต และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
26 - 30
ต.ค.
58
|
โจทย์:สร้างฉันทะ/แรงบันดาลใจ
Key Questions :
- นักเรียนอยกเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง
เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter
นี้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
·
Round
Robin
-
สนทนาร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นจากคลิปวีดีโอ
- สนทนาร่วมกันเกี่ยวกับลายไทยจากภาพต่างๆเหมือนหรือคล้ายกับสิ่งใดบ้าง
· Card and Chart
เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
· Brainstorms
ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับลายที่สำรวจพบในอาคารประถม
·
Think Pair Share
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
· Blackboard
Share
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ร่วมกัน
· Walk
and Talk
เดินสำรวจลวดลายภายในอาคารประถม
· Mind
Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
ร้อยเรื่องเมืองไทย ตอน “เขียนลายไทย”
- รูปลายไทย
|
- ครูให้นักเรียนสังเกตคลิป ร้อยเรื่องเมืองไทย ตอน “เขียนลายไทย”
- ครูให้นักเรียนสังเกตรูปภาพลายไทย
- ครูให้นักเรียนสังเกต ลายพัด ที่นักเรียนสาน
(การบ้านปิดเทอม)
- ครูให้นักเรียนสังเกตลายพัดของตัวเองและ
- ครูแจกกระดาษ A5 นักเรียนเขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้
พร้อมให้เหตุผลประกอบ โดยผ่านเครื่องมือการคิด Card
and Chart
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจลวดลายภายในโรงเรียน
(อาคารเรียนประถม) โดยผ่านเครื่องมือคิด walk and talk
- นักเรียนเขียนป้ายชื่อหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2
คนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่อยากให้เกิดขึ้นในแต่ละสัปดาห์ตามความสนใจ
- นักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์นี้
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นจากคลิปวีดีโอและภาพลายไทย
- เลือกเรื่องที่เรียน
- ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับชื่อหน่วยการดชเรียนรู้
- ออกแบบ/วางแผนออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง 10 สัปดาห์
- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ป้ายชื่อหน่วยการเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง 10 สัปดาห์
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน Mind
Mapping
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
-
สามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจน
-
สามารถออกแบบและวางแผนสิ่งที่ตนเองอย่างเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
-
มีเป้าหมายและกำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ได้
-
ออกแบบวางแผนปฏิทินการเรียนรู้ได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
คิดสร้างสรรค์หัวข้อหน่วยที่อยากเรียนรู้
-
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
2
02 - 06
พ.ย
58
|
โจทย์ : ลายผ้า
Key Questions :
- “นักเรียนคิดว่าลายผ้าสามารถบอกอะไรได้บ้างเพราะเหตุใด?”
- “ทำไมคนแต่ละพื้นถิ่นถึงมีลายผ้าไม่เหมือนกัน?”
เครื่องมือคิด
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับลายผ้าในแต่ละภูมิภาค
· Round
Rubin
- แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับชื่อลวดลายที่รู้จักและสถานที่ผลิต
- แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับลายผ้าที่ได้ค้นหามา
· Blackboard
Share
วางแผนปฏิทินการเรียนรู้
· Jigsaw
ค้นหาลายผ้าที่สำคัญในแต่ละภูมิภาค
·
Show and Share
นำเสนอลายผ้าแต่ละภูมิภาค
· Web
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
· Wall
Thinking
ชาร์ตความรู้ลายผ้า
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง ผ้าไหม ผ้าขาวม้า
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
|
-
ครูทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา (การวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้ใน 10 สัปดาห์ของแต่ละกลุ่ม)
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม
กลุ่มละ 2
คน เขียนปฏิทินการเรียนรู้ติดในชั้นเรียน
- ครูให้นักเรียนสังเกตลายผ้าไหมที่ทอใน
Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่มค้นคว้าหาข้อมูลลายผ้าในแต่ละท้องถิ่นที่สำคัญและน่าสนใจ
(นำเสนอคุณครูเพื่อทำการสืบค้นต่อ) โดยผ่านเครื่องมือการคิด Jigsaw
- นักเรียนค้นหาข้อมูลและเขียนชาร์ตความรู้เกี่ยวกับลวดลายผ้า
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
โดยผ่านเครื่องมือการคิด Web
|
ชิ้นงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้
-
ชาร์ตความรู้ลายผ้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-
ออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ร่วมกัน
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับลายในแต่ละภูมิภาค
-
นำเสนองานที่ได้ค้นคว้ามาให้น่าสนใจ
|
ความรู้
สามารถอธิบายความเป็นมาที่เกี่ยวข้องกับสังคม
ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาที่เกี่ยวเนื่องให้เกิดลายต่างๆ
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
-
มีเป้าหมายและกำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
คิดสร้างสรรค์หัวข้อหน่วยที่อยากเรียนรู้
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อออกแบบกิจกรรม
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
การเข้าใจและนำเสนอข้อมูลที่สำคัญและเชื่อมโยงกับเอกลักษณ์ วัฒนธรรม
ความเชื่อทางสังคมโลก
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
พูด/สื่อสารเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นใน Quarter 3 ได้
-
เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบปฏิทินได้
ทักษะ ICT
- สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายผ้าอย่างหลากหลาย เช่น ถามผู้รู้ Internet
หรือห้องสมุดได้
-
จัดการข้อมูลที่ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
3
09 - 14
พ.ย
58
|
โจทย์ : ตุงหรือธง
Key Question :
ตุงหรือธงมีที่มาความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรบ้างกับคนในท้องถิ่นนั้น?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับลายเส้นของตุงหรือธงในแต่ละท้องถิ่น
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับลายเส้นของตุงหรือธงที่ได้ค้นหามา
· Jigsaw
ค้นคว้าหาลวดลายของตุงหรือธงที่สำคัญในแต่ละท้องถิ่น
· Show
and Share
นำเสนอลายเส้นของตุงหรือธงแต่ละท้องถิ่น
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ ตุงล้านนา
- รูปลายเส้น
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
|
- ครูให้นักเรียนสังเกตคลิป “ตุงล้านนา”
- ครูแจกกระดาษให้นักเรียนประดิษฐ์ตุงพร้องคิดลายที่เชื่อมโยงกับนักเรียน
- ครูให้นักเรียนสังเกตรูปภาพลายเส้น
- นักเรียนเขียนออกแบบลายเส้นของตัวเองจากใบงาน
- นักเรียนเขียนชาร์ตความรู้ตุงในภูมิภาคอื่นๆ
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจ
|
ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์ตุง
- เขียนลายเส้นของตัวเอง
- บรรยายความสำคัญของตุงในแต่ละภูมิภาค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ออกแบบลายเส้นของตัวเอง
- ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับตุงหรือธงในแต่ละภูมิภาค
-
นำเสนองานที่ได้ค้นคว้ามาให้น่าสนใจ
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาและความสำคัญของลวดลายตุงหรือธงในแต่ละท้องถิ่น
อีกทั้งสามารถออกแบบและประดิษฐ์ลายตุงที่มีความเกี่ยวข้องกับตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้อุปกรณ์ในการประดิษฐ์ได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
-
มีเป้าหมายและกำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
คิดออกแบบตุงของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
-
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อออกแบบลวดลายตุง
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนในการค้นหาข้อมูลและนำเสนอความรู้เรื่องตุง
- เป็นผู้นำและผู้ตามในการสร้างสรรค์การเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
-
สามารถนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
4
17 - 21
พ.ย
58
|
โจทย์ : ลายสาน
Key Question :
ลวดลายจักสานมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนในแต่ละท้องถิ่น?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
- ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับจักสานในแต่ละภูมิภาค
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ในการจักสาน
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับจักสานที่ได้ค้นหามา
· Jigsaw
ค้นหาจักสานที่สำคัญในแต่ละภูมิภาค
· Show
and Share
นำเสนอลายจักสานแต่ละภูมิภาค
· Wall
thinking
ชาร์ตความรู้ลายจักสานในแต่ละท้องถิ่น
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ “สารคดีวิถีไทย ปราชญ์ชาวบ้าน ตอน จักสานพนัสนิคม”
- ต้นกก และ
อุปกรณ์ในการทอเสื่อกก
|
- ครูให้นักเรียนสังเกตคลิป “สารคดีวิถีไทย ปราชญ์ชาวบ้าน ตอน จักสานพนัสนิคม
- นักเรียนสานกล่องใส่ของจากวัสดุเหลือใช้
(กล่องนม)
- วิทยากร
(ผู้ปกครอง)
ร่วมสร้างการเรียนรู้แลกเปลี่ยนสนทนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัสดุที่สามารถนำมาสานได้
เช่น กก พร้อมแนะนำอุปกรณ์และวิธีการทอเสื่อจาก กก
- นักเรียนทอเสื่อกก
- นักเรียนเขียนชาร์ตความรู้เครื่องจักสานในแต่ละภาคของประเทศ
โดยผ่านเครื่องมือการคิด Jigsaw
- นักเรียนออกแบบชิ้นงานลวดลายของตนเอง
พร้อมนำเสนอชิ้นงาน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
-
การสานลายต่างๆ (ลายขัด ลายสอง)
- ชาร์ตความรู้ลายจักสานแต่ละภูมิภาค
- ออกแบบชิ้นงานและลายสาน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลาย ที่ใช้ในการจักสาน และนำเสนอ
- ออกแบบชิ้นงาน พร้อมทั้งออกแบบลวดลายของตนเอง และ
นำเสนอวางแผนเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการสาน
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาของลายจักสานแต่ละท้องถิ่นเชื่อมโยงถึง
วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิปัญญา และ การตั้งถิ่นฐานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการออกแบบและทำเครื่องจักสานได้
-
วางแผนในการเตรียมอุปกรณ์และการสานชิ้นงานของตนเอง
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
คิดออกแบบงานจักสานของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
-
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อออกแบบลายจักสาน
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวกับงานจักสานในแต่ละภูมิภาคจากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
5
23 - 27
พ.ย.
58
|
โจทย์ : ลายสาน
Key Question :
นักเรียนจะออกแบบวัสดุอุปกรณ์และประดิบฐ์งานจักสานอย่างไรให้ดูน่าสนใจและสามารถนำมาใช้งานได้?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือ/อุปกรณ์งานจักสาน
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานจักสานที่ได้ค้นหามา
· Jigsaw
ทำแผนที่บอกลักษณะพื้นที่และเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและภูมิปัญญาในแต่ละภูมิภาค
· Show
and Share
นำเสนอผลงานการจักสาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
- คลิปวีดีโอ “วิธีผูกเชือกรองเท้า”
- ใบมะพร้าว
|
- นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 6 กลุ่ม แบ่งตามกลุ่มละภูมิภาคในประเทศไทย เหนือ กลาง ใต้ ตะวันตก
ตะวันออก และ ตะวันออกเฉียงเหนือ
ทำแผนที่บอกลักษณะพื้นที่และเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและภูมิปัญญาในแต่ละภูมิภาคนั้นๆโดยผ่านเครื่องมือคิด
Jigsaw
- นักเรียนสานปลาตะเพียนด้วยใบมะพร้าว
- นักเรียนลงมือประดิบฐ์งานจักสานของตนเอง พร้อมนำเสนอชิ้นงาน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
-
การสานปลาตะเพียนด้วยใบมะพร้าว
-
ทำแผนที่บอกลักษณะพื้นที่และเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและภูมิปัญญาในแต่ละภูมิภาค
- ออกแบบและประดิบฐ์ชิ้นงานจักสานสาน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือในการสร้างสรรค์งานจักสาน
และนำเสนอ
-
วางแผนและออกแบบทำแผนที่บอกลักษณะพื้นที่และเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและภูมิปัญญาในแต่ละภูมิภาค
-
ออกแบบชิ้นงาน
งานจักสานพร้อมสร้างสรรค์ผลงาน และนำเสนอ
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ได้
มาประยุกต์ทำชิ้นงาน (สาน) ได้อย่างสร้างสรรค์
อีกทั้งแก้ปัญหาจากการสร้างชิ้นงานได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
ออกแบบงานสานของตนเองได้ได้อย่างสร้างสรรค์
-
คิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและหาวิธีการแก้ไขรวมถึงคิดแยกแยะปัญหาระหว่างการสร้างชิ้นงานได้
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
- นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
6
30 - 04
พ.ย.
ธ.ค.
58
|
โจทย์ : ลายแกะสลัก
Key Question :
ลวดลายงานแกะสลักมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนภาคกลางและตะวันตก?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการนำเสนอเป็นเรื่องราว ละครฯ
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานลายแกะสลักค้นหามา
· Show
and Share
นำเสนอผลงานการแสดงที่ตนเองออกแบบ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
- รูปภาพ
|
- วิทยากร
(ผู้ปกครอง)
ร่วมสร้างการเรียนรู้แลกเปลี่ยนเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัสดุที่สามารถนำมาแกะสลักได้
พร้อมแนะนำอุปกรณ์และวิธิขั้นตอนการแกะสลัก
- นักเรียนแกะสลักผักและผลไม้
- ครูให้นักเรียนสังเกตรูปภาพ“งานแกะสลักหิน และแกะสลักผักผลไม้ของภาคกลางและภาคตะวันตก
- ให้นักเรียนสังเกตรูปภาพเทศกาลประเพณีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานแกะสลักของภาคกลางและตะวันตก
เช่น ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ,แห่ผ้าห่มองค์พระปฐมเจดีย์,ตรุษจีนปากน้ำโพ,งานแข่งเรือยาว
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6
กลุ่มทำใบงานอธิบายเรื่องราวทาง ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา และงานแกะสลัก
ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในภาคกลางและตะวันตก
- นักเรียนคิดบทการแสดงและถ่ายทอดเรื่องราวจากสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็น
การแสดงละคร
- นักเรียนนำเสนอเป็นการแสดง ละคร ฯ
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
- ใบงานอธิบายลักษณะ ประเพณีของจังหวัดต่างๆเกี่ยวกับเรื่อง
วิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น
- งานแกะสลักผักและผลไม้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับงานแกะสลักที่เชื่อมโยงกับวิถีของคนในพื้นที่ภาคกลางและตะวันตก
พร้อมคิดนำเสนอเป็นเรื่องราว ละครฯ
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาที่เกี่ยวข้องกับสังคม
ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาที่เกี่ยวเนื่องให้เกิดลายแกะสลักตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการแกะสลัก
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการแกะสลักและการทำงานได้
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ (แกะสลัก)
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
ออกแบบงานแกะสลักของตนเองได้ได้อย่างสร้างสรรค์
-
คิดวิเคราะห์ ปัญหาถึงสาเหตุและหาวิธีการแก้ไขรวมถึงคิดแยกแยะปัญหาระหว่างการสร้างชิ้นงานได้
-
ใช้ความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ
ในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานเพือแก้ปัญหาใหม่ๆ
ที่ไม่เคยประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
7
07 - 11
ธ.ค.
58
|
โจทย์ : ลายแกะสลัก
Key Question :
ลวดลายงานแกะสลักหนังตะลุงมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนในภูมิภาคใต้?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการนำเสนอเป็นเรื่องราวการแสดงหนังตะลุง
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกับ เกี่ยวกับการแสดงหนังตะลุง
· Show
and Share
นำเสนอผลงานการแสดงที่ตนเองและการแสดงหนังตะลุงของกลุ่ม
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
- รูปภาพ
- คลิปวีดีโอ“หนังตะลุง”
|
- ครูให้นักเรียนสังเกตคลิป “หนังตะลุง”
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็นการ์ตูนช่อง
- นักเรียนสังเกตรูปภาพ “งานแกะสลักหนังตะลุงภาคใต้”
- นักเรียนสร้างสรรค์ตัวละครจากนิทานที่ค้นหาในแบบฉบับหนังตลุง
- นักเรียนซ้อมการแสดงในรูปแบบหนังตะลุง
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งทั่ได้เรียนรู้จากหนังตะลุง ในรูปแบบการ์ตูนช่อง
- สร้างสรรค์ตัวละครในแบบฉบับหนังตะลุง
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-
ค้นหานิทานหรือเรื่องราวที่จะนำมาถ่ายทอดในรูปแบบหนังตะลุง
นำเสนอเป็นเรื่องราวในแบบฉบับหนังตลุง
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาของหนังตะลุงเชื่อมโยงสู่
สังคม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาของชุมชนในภาคใต้ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำหนังตะลุง
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำหนังตะลุง
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำหนังตะลุง
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ออกแบบตัวละครหนังตะลุงของตนเองได้ได้อย่างสร้างสรรค์
-
คิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและหาวิธีการแก้ไขรวมถึงคิดแยกแยะปัญหาระหว่างการสร้างชิ้นงานได้
-
ใช้ความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ
ในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานเพือแก้ปัญหาใหม่ๆ
ที่ไม่เคยประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
8
14 - 18
ธ.ค.
58
|
โจทย์ : บุญคูณลาน
Key Question :
งานบุญคูณลานเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ของคนในท้องถิ่นนั้นๆ?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการนำเสนอเป็นเรื่องราววัฒนธรรม ประเพณี
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการสิ่งที่ได้สังเกตข้าวเปลือกและธงราว
· Show
and Share
นำเสนอแผ่นชาร์ตใบงาน “บุญคูณลาน”
· Web
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
|
- ครูนำข้าวเปลือก และธงราวมาให้นักเรียนสังเกต
- นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 5
กลุ่ม ค้นหา และเขียนชาร์ตความรู้ข้อมูลเกี่ยวกับประเพณี
“บุญคูณลาน” ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มาและความสำคัญ,ขั้นตอนในพิธีกรรม,อาหาร,การแต่งกาย,สิ่งของที่นำมาประกอบพิธีกรรม
- ครูให้นักเรียนทำแผ่นชาร์ตใบงานข้อมูลเกี่ยวกับประเพณีบุญคูณลานที่นักเรียนได้ค้นหาข้อมูลมา
- นักเรียนร่วมกันทำขนมเทียน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
- แผ่นชาร์ตความรู้เกี่ยวกับงานประเพณีบุญคูณลาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ขนมเทียน
ภาระงาน
- ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประเพณี
“บุญคูณลาน” ของภาคตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือ ในเรื่องราวของที่มาและความสำคัญ,ขั้นตอนในพิธีกรรม,อาหาร,การแต่งการ,สิ่งของที่นำมาประกอบพิธีกรรม
พร้อมนำเสนอ
- นักเรียนเตรียมวัตถุดิบอุปกรณ์ในการทำขนมเทียนและร่วมกันทำขนม
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายประวัติความเป็นมาของวัฒนธรรม
ประเพณี ของงานบุญคูณลานเพื่อ เชื่อมโยงสู่
วิถีทางสังคม อาชีพ และ ภูมิปัญญาของชุมชนในภาคตะวันออก
และตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำชาร์ตความรู้
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงานชาร์ตความรู้
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
-
ทำขนมเทียนได้
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำขนมเทียนเสร็จ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
ออกแบบงานชาร์ตความรู้ของตนเองได้ได้อย่างสร้างสรรค์
-
คิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและหาวิธีการแก้ไขรวมถึงคิดแยกแยะปัญหาระหว่างการสร้างชิ้นงานได้
-
ใช้ความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานเพือแก้ปัญหาใหม่ๆ
ที่ไม่เคยประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ทำสิ่ง
ที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
9
21 - 25
ธ.ค.
58
|
โจทย์ : สรุปองค์ความรู้หน่วย ร้อยเรื่องลวดลาย
Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter
นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วย “ร้อยเรื่องลวดลาย”
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
· Brainstorms
ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
และ การนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วย ร้อยเรื่องลวดลาย
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter
· Show
and Share
นำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วย ร้อยเรื่องลวดลาย
·
Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้หลังการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
|
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- นักเรียนแต่ละคนเขียนประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนวางแผนการจัดนิทรรศการนำเสนอข้อมูล
- นักเรียนเตรียมตัว และซ้อมนำเสนอองค์ความรู้ใน
Quarter 3
- นักเรียนนำเสนอถ่ายทอดองค์ความรู้หน่วย
“ร้อยเรื่องลวดลาย” ให้ พี่ๆน้องๆ และ ผู้ปกครองชื่นชม
-
นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ พร้อมสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และการพัมนาใน Quarter
หน้า
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- ประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- นำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นเข้าใจในรูปแบบนิทรรศการ
“ร้อยเรื่องลวดลาย”
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจสามารถอธิบายและนำเสนอถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง
Quarter หน่วย “ร้อยเรื่องลวดลาย” เชื่อมโยงเข้าสู่ภูมิภาคแต่ละภาค
อีกทั้งสามารถนำความรู้ไปปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
ออกแบบงานสรุปองค์ความรู้ของตนเองได้ได้อย่างสร้างสรรค์
-
คิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและหาวิธีการแก้ไขรวมถึงคิดแยกแยะปัญหาระหว่างการสร้างชิ้นงานการประเมินตนเองได้
-
ใช้ความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ
ในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานเพือแก้ปัญหาใหม่ๆ ที่ไม่เคยประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
ประยุกต์ละนำไปใช้จากสิ่งที่เรียนรู้
และคิดริเริ่มวิธีการ/แนวทางใหม่ๆ ในการทำชิ้นงาน ภาระงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น
Internet
ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10
28 - 29
ธ.ค.
58
|
โจทย์ : ร่วมสืบสานการเรียนรู้งานบุญคุณลาน
Key Question :
นักเรียนจะร่วมสืบสานและถ่ายทอด วัฒนธรรม
ประเพณีงานบุญคูณลานได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
· Round
Rubin
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับร่วมสืบสานและถ่ายทอด
วัฒนธรรม ประเพณีงานบุญคูณลาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- บรรยากาศในงานพิธีบุญคูณลาน
|
- ครูนักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันเตรียมจัดงานพิธีบุญคูณลาน
- ครูนักเรียน
และ ผู้ปกครองร่วมสืบสานงานพิธีบุญคูณลาน
|
ภาระงาน
- ร่วมสืบสานและถ่ายทอด วัฒนธรรม ประเพณีงานบุญคูณลาน
- จัดป้ายนทิทรรศการ “บุญคูณลาน”
ชิ้นงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเรื่องราวของวัฒนธรรม
ประเพณี ของงานบุญคูณลาน ที่เกี่ยวข้องเนื่องกับวิถีทางสังคม อาชีพ และ
ภูมิปัญญาของชุมชน ซึ่งมีการสืบสานและถ่ายทอดกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ได้อย่างสร้างสรรค์และมีความหมาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
กล้ารับผิด รับชอบต่อการเรียนรู้และการทำงาน
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อร่วมสืบสานและถ่ายทอด
วัฒนธรรม ประเพณีงานบุญคูณลาน
-
คิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและหาวิธีการแก้ไขรวมถึงคิดแยกแยะปัญหาระหว่างการสร้างชิ้นงานได้
-
ใช้ความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ
ในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานเพือแก้ปัญหาใหม่ๆ
ที่ไม่เคยประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ทักษะการสื่อสาร
-
มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด และการแสดงออก
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ
จากสิ่งที่ได้ทำสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : ร้อยเรื่องลวดลายไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3Quarter 3ภาคเรียนที่ 2/2558
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่อยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
-อภิปรายลักษณะต่างๆ
ของลวดลาย (ป.๓/๑)
-
เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
-บอกความหมาย ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๓.๒
บอกความสำคัญของลวดลายของแต่ละ
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
-สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
-รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
-
สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
-อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
-
อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ (ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
-บรรยายรูปร่างรูปทรง
ในธรรมชาติสิ่งแวด ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย
(ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน
ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
- วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
|
มาตรฐานง๑.๑
-
อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
-
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
-ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า
และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ว ๓.๑
อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิดในการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๕.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
|
ภาคในประเทศไทยได้(ป.๓/๒)
-
อธิบายเหตุผลการของการสร้างสรรค์ลวดลายของแต่ละภูมิภาค (ป.๓/๓)มาตรฐาน
ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
-สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
|
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
(ป.๓/๘)
|
(ป.๓/๖)
-
บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ลวดลาย (ป.๓/๗)
-
บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ
ที่มีในบ้านและโรงเรียน
(ป.๓/๑๐)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
(ป.๓/๑)
-
อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ระบุความสำคัญและประโยชน์ของของการ
|
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
-สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
-
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
-
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำ
|
||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๖.๑
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน
ประกอบในการทำลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๘.๑
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ป.๓/๑)
- วางแผน การสังเกต
เสนอวิธีการทำลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๒)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ลวดลาย (ป.๓/๓)
- แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูล
|
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๒
- เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของลวดลายต่างๆจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ป.๓/๑)
- อธิบายความแตกต่างของลวดลายต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๔)
|
สร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
|
กลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ง ๓.๑
ค้นหาข้อมูล
อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
|||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
จากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้เรื่องลวดลาย
(ป.๓/๗)
- นำเสนอจัดแสดง
ผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ป.๓/๘)
|
||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
ที่มาและความสำคัญ
- ประวัติศาตร์
- ภูมิศาสตร์
- วิทยาศาตร์
- ศาสนา
- ภูมิปัญญา
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
-
อภิปรายลักษณะต่างๆของลวดลาย
(ป.๓/๑)
-
เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
-
สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรม
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
-
สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
-
อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ (ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
-
บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน
ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
|
มาตรฐานง๑.๑
-
อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
-
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
-
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
- สร้างของเล่นของ
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า
และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
|
เนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
|
(ป.๓/๘)
|
(ป.๓/๑)
-
อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑) (ป.๓/๑)
-
อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
|
ใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
-
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
-
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
|
||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
ลวดลาย
- ลายผ้า
- ลายจักสาน
- ลายปั้น
- ลายไทย
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
-
อภิปรายลักษณะต่างๆ ของลวดลาย (ป.๓/๑)
-
เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๓.๒
บอกความสำคัญของลวดลายของแต่ละ
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
-
สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
-
อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ (ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
-
บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน
ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
- วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
|
มาตรฐานง๑.๑
-
อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
-
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
-
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า
และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ว ๓.๑
อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิดในการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๕.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
|
ภาคในประเทศไทยได้(ป.๓/๒)
-
อธิบายเหตุผลการของการสร้างสรรค์ลวดลายของแต่ละภูมิภาค (ป.๓/๓)มาตรฐาน
ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
-
สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
|
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
(ป.๓/๘)
|
(ป.๓/๖)
-
บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ลวดลาย (ป.๓/๗)
-
บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรียน
(ป.๓/๑๐)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
(ป.๓/๑)
-
อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ระบุความสำคัญและประโยชน์ของของการ
|
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
-
สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
-
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
-
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำ
|
||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๖.๑
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน
ประกอบในการทำลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๘.๑
-
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ (ป.๓/๑)
- วางแผน การสังเกต
เสนอวิธีการทำลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๒)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ลวดลาย (ป.๓/๓)
|
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๒
- เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของลวดลายต่างๆจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ป.๓/๑)
- อธิบายความแตกต่างของลวดลายต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๔)
|
สร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
|
กลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ง ๓.๑
ค้นหาข้อมูล
อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
|||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
ประโยชน์
- ตนเอง
- สังคม
- เศรษฐกิจ
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
-
อภิปรายลักษณะต่างๆของลวดลาย
(ป.๓/๑)
-
เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
-
สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรม
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
-
สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
-
บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน
ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑) (ป.๓/๑)
-
อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการ
|
มาตรฐานง๑.๑
-
อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
-
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
-
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ป.๓/๓)
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า
และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
|
เนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
-
เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
|
(ป.๓/๘)
|
สร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
|
ใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
-
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
-
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
|
||||